
อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคามในปี ค.ศ.1991 ศาสตร์จารย์ ไพบูรฑ์ นัยเนตร วิชาชีวิทยา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เป็นผู้ที่เชี่ยวชาญที่ทำการค้นคว้า เกี่ยวกับปูแป้ง เขาเคยเป็นนักศึกษา ที่ได้ค้นพบว่าปูแป้งเป็นปุสายพันธ์ใหม่ของโลก เราจะพบปูแป้งได้เฉพาะป่าดูนลำพันเท่านั้น
มันจะมีความแตกต่างจากปูนาเพราะว่า ปูนามันจะอาศัยอยู่ตามท้องนาและ อยู่ข้างนอกอยู่ป่าดูนลำพัน ในปี ค.ศ.1993 สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงจุฬาพรท่านได้ทรงพระราชทานชื่อให้กับปูชนิดนี้ว่า (ปูทูลกระหม่อม) จนถึงทุกวันนี้
สีของปูชนิดนี้มีอยู่หลายสี
ปูแป้ง หรือ ปูทูลกระหม่อมที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์และชื่อพระราชทานและชื่อภาษาอังกฤษ ปูมีลี มันจะมีหลากหลายสีที่สวยงามมาก มันจะสามสีที่ตัวของมันจะมี สีม่วง,สีส้ม,สีเหลืองและ สีขาวลักษณะตัวของมันจะมีขาที่ยาวและมีก้ามใหญ่กว่าปูนา บริเวณรอยๆดวงตาของมันจะมี ความแหลมคมกระดองของจะแข็งคม
ทำไมปูชนิดนี้ถึงแตกต่างจากปูนาทั่วไป
ปูชนิดนี้จะมีความแตกต่างตรงที่บริเวณก้ามของมันจะมีสี ส้ม,เหลือง,และรอบปากของมันจะมีสีขาว แต่สีของกระดองจะมีสีคล้ายเปลือกมังคุด สีของมันจะสว่างและสวยงามมากเมื่อกระทบกับแสงแดด ชาวอำเภอนาเชือกดีใจที่ได้พบปูทูลกระหม่อม เพราะมันเป็นปูที่มีแห่งเดียวในโลก
การสืบพันธุ์และขยายพันธุ์
ปูแป้งหรืปูทูลกระหม่อม มันจะสืบพัธุ์และวางไข่ในช่วงเดือน มกราคม-เมษายน ขนาดไข่ประมาณ 4.5 มิลลิลิตร มันจะฟักไข่ของมันอยู่ในรูของมันนานถึง 2-3 เดือน และมันจะออกมาข้างนอกเมือตัว มันแข็งแรง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น